เชื่อมต่อ Nucleo กับ I2C EEPROM เพื่อเก็บและอ่านข้อมูล
โดยให้สามารถทำงานได้ 2 โหมด คือ โหมดเก็บค่าและโหมดอ่านค่า
โหมดเก็บข้อมูล : ให้ Nucleo อ่านค่า 7 bits จาก Switch on/off  แล้วเก็บค่าไว้ใน EEPROM
โดยใช้การกดสวิตช์กดติดปล่อยดับแต่ละครั้ง เพื่อเก็บข้อมูลใน EEPROM
โหมดอ่านข้อมูล : ให้ Nucleo อ่านข้อมูลที่เก็บใน EEPROM  แล้วแสดงบน LED 7 ดวง

โดยใช้การกดสวิตช์กดติดปล่อยดับแต่ละครั้ง เพื่ออ่านข้อมูลใน EEPROM มาแสดง




ให้เชื่อมต่อ Nucleo กับ IC DAC MCP4922-E/P เพื่อกำหนดคลื่นสัญญาณ Sinewave
โดยให้กำหนด Amplitude และความถี่ของสัญญาณ Sinewave ขึ้นมาเอง
และใช้ Scope วัดสัญญาณ  Sinewave ที่สร้างขึ้น





เชื่อมต่อ Nucleo ให้สื่อสารกับ Computer โดยใช้ Comport 
โดยให้ Nucleo ส่งเมนูสำหรับสั่งงานขึ้นที่หน้าจอ Serial Monitor
Menu ที่ 1  กดเพื่อเข้าสู่การทำงานโหมดที่ 1 การสั่งงานไฟวิ่ง 8 ดวง
Menu ที่ 2 กดเพื่อเข้าสู่การทำงานโหมดที่ 2 อ่านสถานะสวิตซ์ Logic Input 1 bits



ออกแบบการทำงานและพัฒนา Controller
โดยการรับ Input แบบ Switch จำนวน 3 ตัว
และทำให้เกิดความแตกต่างในการทำงานของ LED จำนวน  ดวง
ในลักษณะที่แตกต่างกันอย่างน้อย 3 รูปแบบ





Sequential Logic

Output จะขึ้นกับ
1. Input ขณะนั้น
2. Input ก่อนหน้า
3. Output ก่อนหน้า

Flip-Flop

เป็นอุกปกรณ์พื้นฐานทาง Sequential Logic
มี Output คือ  และ Q'  

SR Flip-Flop

แบบ NOR Gate

แบบ NAND Gate

เป็น Invert กับแบบ NOR Gate

D Type Flip-Flop

เมื่อมีสัญญาณ Clock เข้ามา Q จะเท่ากับ D

T Type Flip-Flop

เมื่อมีสัญญาณ Clock เข้ามา  ถ้า T เป็น 1  Q กับ Q' จะสลับกัน
ถ้า T เป็น “0”  Q กับ Q' จะคงเดิม

JK Flip-Flop

เปรียบเสมือนเอา Flip-Flop แบบ D Type กับ T Type มารวมกัน


Asynchronous Counter

คือแบบที่ Output Stage ของ Flip-Flop แต่ละตัวเปลี่ยน Stage ไม่พร้อมกัน
ข้อดี : สร้างง่าย
ข้อเสีย : ความเร็วจากการสะสม Propagation Delay จาก Gate แต่ละตัว
  และมี Ripper Effect


Synchronous Counter

คือแบบที่ Output Stage ของ Flip-Flop แต่ละตัวเปลี่ยน Stage พร้อมกัน

Shift Register

เกิดจากการนำ D Type Flip-Flop มาต่อกัน  
เพื่อใช้จัดเก็บหรือส่งข้อมูลในรูปเลขฐาน 2  มีหลักๆอยู่ 4 แบบ คือ
Serial-in to Serial-out (SISO)
Serial-in to Parallel-out (SIPO)
Parallel-in to Parallel-out (PIPO)
Parallel-in to Serial-out (PISO) 






ตอนเรียนในคาบยังไม่ค่อยเข้าใจ  ต้องลองต่อวงจรดู
และไปศึกษาเพิ่มเติม  ถึงจะเริ่มเข้าใจขึ้น



LED 7 - Segment


Decoder – IC ถอดรหัส

คือ  IC ที่ถอดรหัสจาก Input ไปเป็นรหัสอื่นตามต้องการ  
(Binary to Somethings)  เช่น

Binary to Hex Decoder

คือ IC ถอดรหัสจากเลขฐาน 2 ให้แสดงผลที่ LED 7 – Segment เป็นเลขฐาน 16


Encoder – IC เข้ารหัส

คือ IC ที่เข้ารหัสจาก Input ไปเป็นรหัสอื่นตามต้องการ 
(Somethings to Binary)  เช่น

8 to 3 Bit Priority Encoder



BCD - Binary Coded Decimal

เป็นระบบเลขที่ใช้เลขฐานสองจำนวนอย่างน้อย 4 บิตแทนเลขฐานสิบ 0 ถึง 9 ในแต่ละหลัก


Multiplexer (Mux)

คืออุปกรณ์ที่มีหลาย Input แต่มี 1 Output  สามารถเลือกให้ Input อันใดอันหนึ่ง
ต่อไปยัง Output ได้จากสัญญาณของขา Select



Demultiplexer (Demux)

คืออุปกรณ์ที่มีหลาย Output แต่มี 1 Input  สามารถเลือกให้ Input ต่อไปยัง 
Output  อันใดอันหนึ่ง ได้จากสัญญาณของขา Select









สับสนระหว่าง  Decoder กับ Encoder ว่าแตกต่างกันอย่างไร